Archives

Nakhon Phanom University Journal 


ถอยกลับ

การพัฒนาแบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึก ในผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
Development of a Post-anesthesia Referral Record Form for Critically Ill, Intubated Patients

[เปิดดู 133 ครั้ง]

ชยาวรักษ์ สัจจวาณิชย์ และ ศิวพล ศรีแก้ว

  • บทคัดย่อ
  •      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อ
    ช่วยหายใจ 2) เพื่อประเมินผลลัพธ์ด้านแบบบันทึกและผลลัพธ์ทางคลินิกภายหลังใช้แบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
    ในผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อช่วยหายใจ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน ได้แก่ วิสัญญีพยาบาลและพยาบาล ที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต
    แบบบันทึกพัฒนาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน ประกอบด้วย พยาบาลวิสัญญี พยาบาลวิชาชีพประจำหอผู้ป่วย และวิสัญญีแพทย์
    ระยะเวลาในการพัฒนาแบบบันทึกข้อมูลเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ.2557 ถึงเดือนกนั ยายน พ.ศ.2558 ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ งานประกอบด้วย
    3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ขั้นการสังเกตและการสะท้อนการปฏิบัติและปรับปรุงแผน ทดสอบความตรงด้านเนื้อหา
    โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ทดสอบความเที่ยงด้วยวิธี Inter-Rater ทดลองใช้แบบบันทึกส่งต่อผู้ป่วย จำนวน 30 ราย เปรียบเทียบ
        ผลลัพธ์ทางคลินิกก่อนและหลังพัฒนาแบบบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ Paired t-test
    ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลลัพธ์ด้านแบบบันทึก แบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่
    ท่อช่วยหายใจที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล การวินิจฉัยโรค ชนิดของการผ่าตัด จำนวนการเสียเลือด เลือดและสารน้􀂛ำ ทไี่ ดร้ บั
    ยากลุ่มความเสี่ยงสูงที่ได้รับ ชนิดของการใส่ท่อช่วยหายใจ การใส่อุปกรณ์อื่นๆ ไว้ในร่างกาย เครื่องมือเฝ้าระวังและติดตามต่อเนื่องและภาวะ
    แทรกซ้อนที่ต้องเฝ้าระวังขณะส่งต่อ แบบบันทึกมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 1.00 ทดสอบค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.89 พยาบาล
    ผู้ใช้แบบบันทึกมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจหลังพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ 80, ค่าเฉลี่ย = 4.52, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.40) และ
    แตกต่างกันกับก่อนพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= -15.38, P < 0.001) 2) ผลลัพธ์ด้านคลินิก ก่อนใช้แบบบันทึกมีจำนวนเหตุการณ์
    การส่งต่อไม่สมบูรณ์ จำนวน 2 ราย (Rate = 66.7 : 1,000) ภายหลังใช้แบบบันทึกไม่มีเหตุการณ์การส่งต่อไม่สมบูรณ์ (Rate = 0 : 1,000)
    ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า แบบบันทึกส่งต่อผู้ป่วยหลังได้รับยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่ท่อช่วยหายใจเป็นเครื่องมือสื่อสารทางพยาบาล
    ที่มีคุณภาพทั้งความตรงและความเที่ยงรวมทั้งสามารถเพิ่มผลลัพธ์ทางคลินิกได้จริง

  • Abstract
  •      Ԩ¹ѵػʧ 1) ѲẺѹ֡觵ͼѧѺЧѺ֡㹼ԡĵ
    2) ͻԹѾҹẺѹ֡мѾҧԹԡѧẺѹ֡觵ͼѧѺЧѺ֡
    㹼ԡĵͪ ӹǹ 100 ѭվҺоҺ 軯Ժѵԧҹͼԡĵ
    Ẻѹ֡ѲҢ¼Ǫҭ ӹǹ 10 Сͺ Һѭ ҺԪҪվШͼ ѭᾷ
    㹡þѲẺѹ֡͹Ҥ ..2557 ֧͹ ¹ ..2558 ѹ ͹ô� ๹ ҹСͺ
    3 鹵͹ 鹡 鹴Թ 鹡ѧࡵСз͹ûԺѵлѺاἹ ͺçҹ
    ¼Ǫҭ ӹǹ 5 ͺ§Ը Inter-Rater ͧẺѹ֡觵ͼ ӹǹ 30 ºº
        ѾҧԹԡ͹ѧѲẺѹ֡ ʶԵԺ Paired t-test
    šԨ¾ 1) ѾҹẺѹ֡ Ẻѹ֡觵ͼѧѺЧѺ֡㹼ԡĵ
    ͪ㨷ѲҢ Сͺ ǹؤ ԹԨä ԴͧüҵѴ ӹǹʹ ʹù􀂛
    ҡ§٧Ѻ Դͧͪ ػó ҧ ͧѧеԴͧ
    á͹ͧѧ觵 Ẻѹ֡դҴѪդç ҡѺ 1.00 ͺҤ§ҡѺ 0.89 Һ
    Ẻѹ֡դ¤֧ѧѲдѺҡش 80, = 4.52, §ູҵðҹ = 0.40)
    ᵡҧѹѺ͹ѲҧչӤѭҧʶԵ (t= -15.38, P < 0.001) 2) ѾҹԹԡ ͹Ẻѹ֡ըӹǹ˵ءó
    觵ó ӹǹ 2 (Rate = 66.7 : 1,000) ѧẺѹ֡˵ءó觵ó (Rate = 0 : 1,000)
    šԨª Ẻѹ֡觵ͼѧѺЧѺ֡㹼ԡĵͪͧ÷ҧҺ
    դسҾ駤çФ§öѾҧԹԡԧ

    Download Full Paper: