Archives

Nakhon Phanom University Journal 


ถอยกลับ

Meditation Centers : Developing a Model of Meditation Practice In Four places in the Northeastern Region
-

[เปิดดู 157 ครั้ง]

Phramaha Rungrueang Pamakha, Pisit Boonchai and Kosit Pangsoi

  • บทคัดย่อ
  •      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติความเป็นมาการปฏิบัติกรรมฐานสำานักปฏิบัติธรรมภาคอีสาน 2) สภาพปัจจุบันและปัญหาของการปฏิบัติกรรมฐานสำานักปฏิบัติธรรมภาคอีสาน 3) กระบวนการพัฒนารูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานสำานักปฏิบัติธรรมภาคอีสาน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยทำาการเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงลึก ด้วยการสำรวจ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง การสนทนากลุ่ม และการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยเลือกพื้นที่ทำาการวิจัยแบบเจาะจง ซึ่งเก็บข้อมูลจากสำนักปฏิบัติธรรมทั้ง 4 สำนัก 1) สำานักปฏิบัติธรรมศูนย์ปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน จังหวัดขอนแก่น 2) สำนักปฏิบัติธรรม วัดเอราวัณ (วัดป่าสุคะโต) จังหวัดชัยภูมิ 3) สำานักปฏิบัติธรรมวัดนาหลวง (วัดอภิญญาเทสิตธรรม) จังหวัดอุดรธานี 4) สำนักปฏิบัติธรรมวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี
        ผลการวิจัยพบว่า 1) สำานักปฏิบัติธรรมปฏิบัติกรรมฐานในภาคอีสานสร้างขึ้นตามความประสงค์ของพระสงฆ์สายวิปัสสนากรรมฐานเพื่อเป็นศนูย์ปฏิบัติธรรมและเปน็ ทีฝึกปฏิบัติวิปสัสนากรรมฐานให้เป็นของส่วนรวม 2) สาำ นักปฏิบัตธิ รรม มีอาคารสถานที่ บรรยากาศร่มรื่น เงียบสงบ มีพระวิปัสสนาจารย์ที่มีความรู้ และเทคนิคในการสอนปฏิบัติธรรม รูปแบบในการปฏิบัติกรรมฐานคือ แบบยุบหนอพองหนอแบบเคลื่อนไหว แบบภาวนาพุทโธ และแบบอานาปานสติ สภาพโดยทั่วไป ในฤดูร้อนสำานักปฏิบัติธรรมมีอากาศร้อนและแห้งแล้ง ฤดูหนาว อากาศหนาวเย็น ฤดูฝนมียุง และแมลงชุกชุม พระวิปัสสนาจารย์บางรูปมีประสบการณ์ในเทคนิคการสอนไม่หลากหลาย 3) รูปแบบการพัฒนาการปฏิบัติกรรมฐานของสำานักปฏิบัติธรรมในภาคอีสานควรปรับปรุงอาคารสถานที่ให้อากาศถ่ายเทสะดวก จัดโครงการอบรม แก่พระวิทยากร พระวิปัสสนา ฝึกอบรมการปฏิบัติกรรมฐานเป็นรายบุคคล และควรปรับปรุงระยะเวลาจัดกิจกรรมให้มีความเหมาะสม

  • Abstract
  •     The objectives of this study were to investigate: 1) the history of meditation practice of the Dhamma practice retreats in the Northeast, 2) the current state and problem of meditation practice of the Dhamma practice retreats in the Northeast, and 3) the process of developing a meditation practice model of the Dhamma practice retreats in the Northeast. The type of study was qualitative research. The researcher collected in-depth information by survey, participatory observation and non-participatory observation, structured interview and un-structured interview, focus group discussion and fi eld data collection. The areas of study selected by purposive sampling from which the data were collected consisted of 4 Dhamma practice retreats: 1) the Dhamma practice retreat in the Garden Weluwan
    Dhamma Practice Center, Khon Kaen province, 2) the Dhamma practice retreat in the Erawan Temple (Wat Sukhato), Chaiyaphum province, 3) the Dhamma Practice Retreat, Wat Na Luang (Wat Apinyathesitdham), Udon Thani province, and 4) the Dhamma Preactice Retreat, Wat Nong Pa Phong, Ubon Ratchathani province.

        The findings of study disclosed as follows: 1. The Dhamma and meditation practice retreats in the Northeast were built by the will of insight meditation monks as centers for Dhamma practice and places of Vipassana insight meditation practice for the people at large. 2. The Dhamma practice retreats included buildings and facilities, calm and peaceful atmosphere, monk-teachers of Vipassana who had the knowledge and techniques of teaching Dhamma practice. The model for meditation practice was ‘falling’ and ‘rising’ following the out-breath and in-breath respectively, ‘movement’, mindfulness on breathing in and out with the praying words of ‘Bud’ and ‘dho’ repeatedly, and Anapanasati practice. The generality was found that the weather in the Dhamma practice retreats was hot and dry in summer. It was cold in the winter. In the rainy season, mosquitoes and insects abounded. Some monk-teachers had no diverse experience of teaching techniques. 3) The model of developing meditation practice of the Dhamma practice retreats in the Northeast should be as follows: buildings and facilities should be improved to be airy; monk-lecturers and meditation practicing monks should be provided with a project of training. The practice of meditation should be practiced individually and the duration of activity should be appropriately improved.

    Download Full Paper: