Archives

Nakhon Phanom University Journal 


ถอยกลับ

Examining Student ICT Ownership, Use and Preferences towards Electronically Delivered Learning Resources in Nakhon Phanom University and Sakon Nakhon Rajabhat University
-

[เปิดดู 169 ครั้ง]

Yuwanuch Gulatee, Vijittra Vonganusith, Jeremy E. Pagram and Martin G. Cooper

  • บทคัดย่อ
  • การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)ความเป็นเจ้าของของนักศึกษากับอุปกรณ์เทคโนโลยีทั้งด้านซอฟแวร์และการใช้งาน 2)อุปกรณ์เทคโนโลยีอะไรบ้างที่ครูผู้สอนใช้ในชั้นเรียน 3)การใช้งานระบบออนไลน์ของนักศึกษาที มหาวิทยาลัย และ 4)ตรวจสอบทักษะการใช้ซอฟแวร์ของนักศึกษา โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม และ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร จำานวน 977 คน ปีการศึกษา 2558 โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ แบบสอบถาม ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อจัดลำดับทัศนคติของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ Likert Scale เป็นการให้สเกลคำตอบการสำารวจโดยการออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ ได้รับการพัฒนาโดยใช้ซอฟต์แวร์ Qualtrics ซึ่งเป็น เครื่องมือที่มี การสำารวจวิจัยออนไลน์ รวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าอำานาจจำาแนกระหว่าง 0.44.-0.85 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาเป็นเจ้าของ Laptop มากที่สุดร้อยละ 78 รองลงมาคือ Smart Phone ร้อยละ 60 นักศึกษามหาวิทยาลัยทั้งสองแห่งติดตามเทคโนโลยีใหม่ๆ อะไรบ้าง โดยพิจารณาจากการเป็นเจ้าของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่เกิน 3 ปี ทำให้ทราบว่า นักศึกษาซื้ออุปกรณ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา และส่วนมากนักศึกษาใช้อุปกรณ์ดังกล่าวในการเรียนมากกว่าร้อยละ 60 2) ครูผู้สอนใช้ Desktop Laptop และ Projector ในห้องเรียนบ่อยที่สุดมากกว่าร้อยละ 75 3)การติดต่อสื่อสารที่ทางมหาวิทยาลัยจัดให้ เช่น ระบบการเรียนการสอน ออนไลน์กลับไม่ได้รับการตอบสนองเท่าที่ควรมีเพียงร้อยละ 20 และ 4) ทักษะในการใช้ Software ที่จำเป็นต่อการเรียนการสอนของนักศึกษามหาวิทยาลัยทั้งสองแห่งอยู่ในระดับกลาง ในขณะที่ทักษะทาง Social Media นั้นอยู่ในระดับดีมาก ดังนั้นจะเห็นได้ว่านักศึกษาส่วนใหญ่ยังขาดความรู้พื้นฐานในการใช้ระบบสารสนเทศเบื้องต้นที่สนับสนุนการเรียน มหาวิทยาลัยควรมีการติดตามและวัดผลความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นและปรับปรุงตัวเองให้มีพื้นฐานที่ดีขึ้น และส่งผลต่อการทำางานของนักศึกษาในอนาคต

  • Abstract
  • The objectives of this research were 1) to fi nd students’ ownership of technology devices, ownership, software facility, and preferences, 2) to find out what devices instructors use in the classroom, 3) to find out how the students use the online learning that the university provided for them, and 4) to examine students’ software skills.The questionnaire and the interview instruments were designed to clarify participants’ attitudes, and used a Likert scale. Surveys and qualitative research design were developed using Qualtrics software, which is an online research survey tool that can be used for a whole range of data gathering purposes applicable to Higher Degree Research. The samples are the students in both universities (Nakhon Phanom University and Sakon Nakhon Rajabhat University),a total of 977 people. A statistical computer program was employed. The entire reliability value was 0.852 and the discrimination index was between 0.28 and 0.76. The results disclose as follows: 1) Most of the students owned laptop (78%), followed by the smart phone (60%). The two university students owned devices up to 3 years, showed that students purchase new equipment all the time. Many students claimed that they used such devices in class (more than 60 %). As well as smart phones, students used them every day and more than 2-3 times (50 %). 2) The teachers used desktop computers, laptops and projectors in classrooms most frequently (> 75 %). 3) Only 20% of the students accessed communication channels provided by the universities, such as eLearning system, compared to other channels, such as Facebook. And 4) the students’ software skills required for studying are only at intermediate level, whereas their social media skills were advanced. As a result, it could be seen that most of the students lacked basic knowledge in using information technology for study purposes. Therefore, the university should have ongoing monitoring and measurement in respect of information technology competency as those technologies could constantly provide students with enthusiasm and give opportunity to improve themselves which is a good basis for future work and education. 

    Download Full Paper: